บันทึกการเรียนครั้งที่ 2
วันอังคาร ที่ 12 พฤศจิกายน 2556
อาจารย์อธิบายและบอกถึงเรื่องคะแนน
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ 100 คะแนน ว่ามีอะไรบ้าง
อาจารย์อธิบายเนื้อหา
ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
1. ทางการแพทย์ มักจะเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า "เด็กพิการ" หมายถึง เด็กที่มีความผิดปกติ มีความบกพร่อง สูญเสียสมรรถภาพ อาจเป็นความผิดปกติความบกพร่องทางกาย การสูญเสียสมรรถภาพทางสติปัญญา ทางจิตใจ
2. ทางการศึกษา หมายถึง เด็กที่มีความต้องการทางการศึกษาเฉพาะของตัวเอง ซึ่งจำเป็นต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็กปกติทางด้านเนื้อหา หลักสูตร กระบวนการที่ใช้และการประเมินผลต้องยึดเป็นรายบุคคล
สรุปได้ว่าเด็กที่มีความต้องการพิเศษหมายถึง
-เด็กที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควรจากการให้การช่วยเหลือ และการสอนตามปกติ
-มีสาเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกายสติปัญญาและอารมณ์
-จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้น ช่วยเหลือ การบำบัดและฟื้นฟู
-จัดการเรียนการสอนที่เหมาะกับลักษณะแฃะความต้องการของเด็กแต่ละบุคคล
All children can learn = เด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง
-มีความเป็นเลิศทางสติปัญญา เรียกโดยทั่วๆไปว่า "เด็กปัํญญาเลิศ"
2.กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
กระมรวงศึกษาธิการ แบ่งออกเป็น 9 ประเภท
1.เด็กบกพร่องทางสติปัญญา
2.เด็กบกพร่องทางการได้ยิน
3.เด็กบกพร่องทางการเห็น
4.เด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
5.เด็กบกพร่องทางการพูดและภาษา
6.เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
7.เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรูื้
8.เด็กออทิสติก
9.เด็กพิการซ้อน (ซ้ำซ้อน)
1. เด็กบกพร่องทางสติปัญญา
หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในระดับอายุเดียวกัน มี 2 กลุ่ม คือ เด็กเรียนช้า เด็กปัญญาอ่อน
--> เด็กเรียนชา
-สามารถเรียนในชั้นเรียนปกติได้
-เด็กที่มีความสามารถในการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ
-ขาดทักษะในการเรียนรู้
-มีความบกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย
-มีระดับสติปัญญา IQ ประมาณ 71-90
สาเหตุของการเรียนช้า
--ภายนอก
--ภายใน
1. ภายนอก
- เศรษฐกิจของครอบครัว
- การสร้างเสริมประสบการณ์ให้แก่เด็ก
-สภาวะทางด้านอารมณ์ของคนในครอบครัว
-การเข้าเรียนไม่สม่ำเสมอ
-วิธีการสอนไม่มีประสิทธิภาพ
2. ภายใน
-พัฒนาการช้า
-การเจ็บป่วย
--> เด็กปัญญาอ่อน
-เด็กที่มีภาวะการพัฒนาการหยุดชะงัก
-แสดงลักษณะเฉพาะสื่อมีระดับสติปัญญาต่ำ
-มีความสามารถในการเรียนรู้น้อย
-มีความจำกัดทางด้านทักษะ
-มีพัฒนาการทางกายล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย
-มีความสามารถจำกัดในการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม
เด็กปัญญาอ่อนแบ่งตามระดับสติปัญญา (IQ) ได้ 4 กลุ่ม
1.เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนักมาก IQ ต่ำกว่า 20
-ไม่สามารถเรียนรู้ทักษะด้านต่างๆได้เลย ต้องการเฉพาะการดูแลรักษาพยาบาลเท่านั้น
2.เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนัก IQ 20-34
-ไม่สามารถเรียนได้ ต้องการเฉพาะการฝึกหัดการช่วยเหลือตัวเองในกิจวัตรประจำวันเบื้องต้นง่ายๆ
2 กลุ่มนี้เรียกโดยทั่วไปว่า C.M.R (Custodial Mental Retardation)
3.เด็กปัญญาอ่อนขนาดปานกลาง IQ 35-49
-พอที่จะฝึกอบรมและเรียนทักษะเบื้องต้นง่ายๆได้ สามารถฝึกอาชีพ หรือทำงานง่ายๆที่ไม่ต้องใช้ความละเอียดลออได้เรียกโดยทั่วไปว่า T.M.R (Trainable Mentally Retarded)
4.เด็กปัญญาอ่อนขนาดน้อย IQ 50-70
-สามารถเข้าเรียนได้ สามารถฝึกอาชีพและงานง่ายๆได้เรียนในระดับประถมศึกษาได้ เรียกโดยทั่วไปว่า E.M.R (Educable Mentally Retarded)
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
-ไม่พูดหรือพูดไม่ได้สมวัย
-ช่วงความสนใจสั้นวอกแวก
-ความคิดและอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่ายรอคอยไม่ได้
-ทำงานช้า
-รุนแรง ไม่มีเหตุผล
-อวัยะบางส่วนมีรูปร่างผิดปกติ กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน
-ช่วยตนเองได้น้อยกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
2. เด็กบกพร่องทางการได้ยิน
หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องหรือสูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่างๆได้ไม่ชัดเจน
มี 2 ประเภท คือ เด็กหูตึง และเด็กหูหนวก
--> เด็กหูตึง หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยินแต่สามารถรับข้อมูลได้ โโยใช้เครื่องช่วยฟัง
จำแนกกลุ่มย่อยได้ 4 กลุ่ม
1.เด็กหูตึงระดับน้อย ได้ยินระหว่าง 26-40 dB
-เด็กจะมีปัญหาในการรับฟังเสียงเบาๆ เช่น เสียงกระซิบหรือเสียงจากที่ไกลๆ
2.เด็กหูตึงระดับปานกลาง ได้ยินระหว่าง 41-55 Db
-เด็กจะมีปัญหาในการรับฟังเสียงพูดคุยในระดับปกติ ในระยะห่าง 3-5 ฟุต และไม่เห็นหน้าผู้พูด
-จะไม่ได้ยิน ได้ยินไม่ชัด จับใจความไม่ได้
-มีปัญหาในการพูดเล็กน้อย เช่น พูดไม่ชัด ออกเสียงเพี้ยน พูดเสียงเบา หรือเสียงผิดปกติ
3.เด็กหูตึงระดับมาก ได้ยินระหว่าง 56-70 dB
-เด็กจะมีปัญหาในการรับฟังและเข้าใจคำพูด
-เมื่อพูดคุยกันด้วยเสียงดังเต็มที่ก็ยังไม่ได้ยิน
-มีปัญหาในการรับฟังเสียงหลายเสียงพร้อมกัน
-มีพัฒนาการทางภาษาและการพูดช้ากว่าปกติ
-พูดไม่ชัด เสียงเพี้ยน บางคนไม่พูด
ทักษะของภาษาพบบ่อยในเด็กพิเศษ
4.เด็กหูตึงระดับรุนแรง ได้ยินระหว่าง 71-90 dB
-เด็กจะมีปัญหาในการรับฟังเสียงและการเข้าใจคำพูดอย่างมาก
-ได้ยินเฉพาะเสียงที่ดังใกล้หูในระยะ 1 ฟุต
-การพูดคุยด้วยต้องตะโกนหรือเครื่องขยายเสียง
--> เด็กหูหนวก
-เด็กที่สูญเสียการได้ยินมากถึงขนาดที่ทำให้หมดโอกาสที่จะเข้าใจภาษาพูดจากการได้ยิน
-เครื่องช่วยฟังไม่สามารถช่วยได้
-ไม่สามารถเข้าใจหรือใช้ภาษาพูดได้
-ระดับการได้ยินตั้งแต่ 91 dB ขึ้นไป
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
-ไม่ตอบสนองเสียงพูด เสียงดนตรีมักตะแคงหูฟัง
-ไม่พูด ฝึกแสดงท่าทาง
-พูดไม่ถูกไวยากรณ์
-พูดด้วยเสียงแปลก มักเปล่งเสียงสูง
-พูดด้วยเสียงต่ำหรือด้วยเสียงที่ดังเกิดความจำเป็น
-เวลาฟังมักจะมองปากของผู้พูด หรือจ้องหน้าผู้พูด
-รู้สึกไวต่อการสั่นสะเทือน และการเคลื่อนไหวรอบตัว
-มักทำหน้าที่เด็กเมื่อมีการพูดด้วย
3.เด็กบกพร่องทางการเห็น
-เด็กที่มองไม่เห็นหรือพอเห็นแสง เห็นเลือนราง
-มีความบกพร่องทางสายตาทั้งสองข้าง
-สามารถเห็นได้ไม่ถึง 1/10 ของคนสายตาปกติ
-มีลานสายตากว้างไม่เกิน 30 องศา
จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ เด็กตาบอด และเด็กตาบอดไม่สนิท
--> เด็กตาบอด
-เด็กที่ไม่สามารถมองเห็นได้เลย หรือมองเห็นบ้าง
-ต้องใช้ประสาทสัมผัสอื่นในการเรียนรู้
-มีสายตาดีมองเห็นได้ในระยะ 6/60, 20/200 ลงมาจนถึงบอดสนิท
-มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดแคบกว่า 5 องศา
--> เด็กตาบอดไม่สนิท
-เด็กที่มีความบกพร่องทางสายตา
-สามารถมองเห็นบ้างแต่ไม่เท่ากับเด็กปกติ
-เมื่อทดสอบสายตาข้างดีจะอยู่ในระดับ 6/18 , 20/6, 6/60, 20/200 หรือน้อยกว่านั้น
-มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน 30 องศา
ลักษณะเด็กบกพร่องทางการมองเห็น
-เด็กงุ่มง่าม ซนและสะดุดวัตถุ
-มองเห็นสีผิดไปจากปกติ
-มักบ่นว่าปวดศีรษะ คลื่อนไส้ ตาลาย คันตา
-ก้มศีรษะชิดกับงาน หรือของเล่นที่วางอยู่ตรงหน้า
-เพ่งตา หรี่ตา หรือปิดตาข้างหนึ่งเมื่อใช้สายตา
-ตาและมือไม่สัมพันธ์กัน
-มีความลำบากในการจำ และแยกแยะสิ่งที่เป็นรูปร่างทางเรขาคณิต
2 กลุ่มนี้เรียกโดยทั่วไปว่า C.M.R (Custodial Mental Retardation)
3.เด็กปัญญาอ่อนขนาดปานกลาง IQ 35-49
-พอที่จะฝึกอบรมและเรียนทักษะเบื้องต้นง่ายๆได้ สามารถฝึกอาชีพ หรือทำงานง่ายๆที่ไม่ต้องใช้ความละเอียดลออได้เรียกโดยทั่วไปว่า T.M.R (Trainable Mentally Retarded)
4.เด็กปัญญาอ่อนขนาดน้อย IQ 50-70
-สามารถเข้าเรียนได้ สามารถฝึกอาชีพและงานง่ายๆได้เรียนในระดับประถมศึกษาได้ เรียกโดยทั่วไปว่า E.M.R (Educable Mentally Retarded)
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
-ไม่พูดหรือพูดไม่ได้สมวัย
-ช่วงความสนใจสั้นวอกแวก
-ความคิดและอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่ายรอคอยไม่ได้
-ทำงานช้า
-รุนแรง ไม่มีเหตุผล
-อวัยะบางส่วนมีรูปร่างผิดปกติ กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน
-ช่วยตนเองได้น้อยกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
2. เด็กบกพร่องทางการได้ยิน
หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องหรือสูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่างๆได้ไม่ชัดเจน
มี 2 ประเภท คือ เด็กหูตึง และเด็กหูหนวก
--> เด็กหูตึง หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยินแต่สามารถรับข้อมูลได้ โโยใช้เครื่องช่วยฟัง
จำแนกกลุ่มย่อยได้ 4 กลุ่ม
1.เด็กหูตึงระดับน้อย ได้ยินระหว่าง 26-40 dB
-เด็กจะมีปัญหาในการรับฟังเสียงเบาๆ เช่น เสียงกระซิบหรือเสียงจากที่ไกลๆ
2.เด็กหูตึงระดับปานกลาง ได้ยินระหว่าง 41-55 Db
-เด็กจะมีปัญหาในการรับฟังเสียงพูดคุยในระดับปกติ ในระยะห่าง 3-5 ฟุต และไม่เห็นหน้าผู้พูด
-จะไม่ได้ยิน ได้ยินไม่ชัด จับใจความไม่ได้
-มีปัญหาในการพูดเล็กน้อย เช่น พูดไม่ชัด ออกเสียงเพี้ยน พูดเสียงเบา หรือเสียงผิดปกติ
3.เด็กหูตึงระดับมาก ได้ยินระหว่าง 56-70 dB
-เด็กจะมีปัญหาในการรับฟังและเข้าใจคำพูด
-เมื่อพูดคุยกันด้วยเสียงดังเต็มที่ก็ยังไม่ได้ยิน
-มีปัญหาในการรับฟังเสียงหลายเสียงพร้อมกัน
-มีพัฒนาการทางภาษาและการพูดช้ากว่าปกติ
-พูดไม่ชัด เสียงเพี้ยน บางคนไม่พูด
ทักษะของภาษาพบบ่อยในเด็กพิเศษ
4.เด็กหูตึงระดับรุนแรง ได้ยินระหว่าง 71-90 dB
-เด็กจะมีปัญหาในการรับฟังเสียงและการเข้าใจคำพูดอย่างมาก
-ได้ยินเฉพาะเสียงที่ดังใกล้หูในระยะ 1 ฟุต
-การพูดคุยด้วยต้องตะโกนหรือเครื่องขยายเสียง
--> เด็กหูหนวก
-เด็กที่สูญเสียการได้ยินมากถึงขนาดที่ทำให้หมดโอกาสที่จะเข้าใจภาษาพูดจากการได้ยิน
-เครื่องช่วยฟังไม่สามารถช่วยได้
-ไม่สามารถเข้าใจหรือใช้ภาษาพูดได้
-ระดับการได้ยินตั้งแต่ 91 dB ขึ้นไป
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
-ไม่ตอบสนองเสียงพูด เสียงดนตรีมักตะแคงหูฟัง
-ไม่พูด ฝึกแสดงท่าทาง
-พูดไม่ถูกไวยากรณ์
-พูดด้วยเสียงแปลก มักเปล่งเสียงสูง
-พูดด้วยเสียงต่ำหรือด้วยเสียงที่ดังเกิดความจำเป็น
-เวลาฟังมักจะมองปากของผู้พูด หรือจ้องหน้าผู้พูด
-รู้สึกไวต่อการสั่นสะเทือน และการเคลื่อนไหวรอบตัว
-มักทำหน้าที่เด็กเมื่อมีการพูดด้วย
3.เด็กบกพร่องทางการเห็น
-เด็กที่มองไม่เห็นหรือพอเห็นแสง เห็นเลือนราง
-มีความบกพร่องทางสายตาทั้งสองข้าง
-สามารถเห็นได้ไม่ถึง 1/10 ของคนสายตาปกติ
-มีลานสายตากว้างไม่เกิน 30 องศา
จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ เด็กตาบอด และเด็กตาบอดไม่สนิท
--> เด็กตาบอด
-เด็กที่ไม่สามารถมองเห็นได้เลย หรือมองเห็นบ้าง
-ต้องใช้ประสาทสัมผัสอื่นในการเรียนรู้
-มีสายตาดีมองเห็นได้ในระยะ 6/60, 20/200 ลงมาจนถึงบอดสนิท
-มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดแคบกว่า 5 องศา
--> เด็กตาบอดไม่สนิท
-เด็กที่มีความบกพร่องทางสายตา
-สามารถมองเห็นบ้างแต่ไม่เท่ากับเด็กปกติ
-เมื่อทดสอบสายตาข้างดีจะอยู่ในระดับ 6/18 , 20/6, 6/60, 20/200 หรือน้อยกว่านั้น
-มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน 30 องศา
ลักษณะเด็กบกพร่องทางการมองเห็น
-เด็กงุ่มง่าม ซนและสะดุดวัตถุ
-มองเห็นสีผิดไปจากปกติ
-มักบ่นว่าปวดศีรษะ คลื่อนไส้ ตาลาย คันตา
-ก้มศีรษะชิดกับงาน หรือของเล่นที่วางอยู่ตรงหน้า
-เพ่งตา หรี่ตา หรือปิดตาข้างหนึ่งเมื่อใช้สายตา
-ตาและมือไม่สัมพันธ์กัน
-มีความลำบากในการจำ และแยกแยะสิ่งที่เป็นรูปร่างทางเรขาคณิต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น