บันทึกการเรียนครั้งที่ 5
วันอังคาร ที่ 3 ธันวาคม 2556
วันนี้อาจารย์เปิด PowerPoint เนื้อหาการสอนไม่ได้อาจารย์เลยให้เคลียงานที่ค้างอยู่
ความรู้เพิ่มเติม
ความหมาย ประเภท ลักษณะของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษนั้นเราก็อาศัยบรรทัดฐาน (norm)
ที่มีการศึกษาค้นคว้าและบันทึกเอาไว้ว่าเมื่อเด็กเกิดมาแล้วจะต้องมีอะไรมี
ลักษณะอย่างไร
และสามารถปฏิบัติอย่างไรได้เช่นเดียวกับคนอื่นๆ ในสังคมบ้าง
รวมไปถึงเรื่องของพัฒนาการหรือพฤติกรรมว่าเหมือนกับที่มีการศึกษาค้นคว้า
เอาไว้หรือไม่ หากเกิดมาและมีการเบี่ยงเบนไปจากบรรทัดฐานที่กำหนดไว้ เราก็มักจะมีเรียกตามลักษณะที่ขาดหายหรือตามที่บกพร่องไป เช่น เด็กตาบอด เด็กปัญญาอ่อน เด็กแขนด้วน ขาด้วน เป็นต้น นั้นเป็นการเรียกกันตามสภาพ ที่เห็นว่าไม่เหมือนคนทั่วไป แต่ในทางวิชาการเรามักจะใช้การเรียกรวมๆ ว่า เด็กที่มีความต้องการพิเศษ ดังนั้นหากจะจำกัดความของคำว่า เด็กที่มีความต้อง การพิเศษ จะพบว่า มีความหมายที่กว้างมาก ซึ่งองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้พยายามที่จะจำกัดความหรือให้ความหมายคำว่าเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เพื่อให้เป็นแนวทางสำหรับการทำความเข้าใจว่า เด็กที่มีความต้องการ พิเศษจะต้องอยู่ในขอบเขต 3 ประการ คือ
จากขอบเขตดังกล่าว คำว่า" เด็กที่มีความต้องการพิเศษ" จึงหมายถึงการมีข้อจำกัดใดๆ หรือการขาดความสามารถอันเป็นผลมา จากการให้การช่วยเหลือและการสอนตามปกติทั้งนี้มีสาเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกายสติปัญญา และอารมณ์ จำเป็นต้องได้รับการ กระตุ้น ช่วยเหลือ การบำบัด ฟื้นฟูและให้การเรียนการสอนที่เหมาะ กับลักษณะ และความต้องการของเด็ก
คำว่า เด็กที่มีความต้องการพิเศษมาจากคำภาษาอังกฤษว่า Children with special needs เป็น คำใหม่ และเพิ่งใช้กันอย่างแพร่หลาย ในระยะไม่กี่ปีที่ผ่านมา
นอกจากนี้แล้ว ยังมีการให้คำนิยามเกี่ยวกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ตามลักษณะของการจัดให้บริการ โดยแยกลักษณะการให้บริการได้ดังนี้ 1. ทางการแพทย์ มักจะเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษเหล่านี้ว่า เด็กพิการ ดังนั้นเด็กที่มีความต้องการพิเศษจึงหมายถึง ผู้ที่มีความผิดปกติ ผู้ที่มีความบกพร่อง หรือ ผู้ที่มีการสูญเสียสมรรถภาพอาจเป็นความผิดปกติ ความบกพร่องทางกายหรือการสูญเสียสมรรถภาพเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการดำ เนินชีวิตของเขาทำให้เขาไม่สามารถปฏิบัติภารกิจได้ดีเท่ากับคนปกติ แต่หากมีการ แก้ไขอวัยวะที่บกพร่องไปให้สามารถให้งานได้ดังเดิมแล้ว สภาพความบกพร่อง อาจหมดไป 2. ทางการศึกษา ให้ความหมายเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า หมายถึงเด็กที่มี ความต้องการทางการศึกษาเฉพาะของตัวเอง ซึ่งจำเป็นต้องจัดการคือศึกษาให้ ต่างไปจากเด็กปกติทางด้านเนื้อหา หลักสูตรกระบวนการที่ใช้และการประเมินผล
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
องค์กรอนามัยโลก(WHO) แบ่งเด็กที่มีความต้องการพิเศษออก ดังนี้ 1. แบ่งตามความบกพร่อง (Clssification of Impairment)
6.1 คนพิการทางการมองเห็น
6.2 คนพิการทางการได้ยินและสื่อความหมาย
6.3 คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม
6.4 คนพิการทางสติปัญญาหรือการเรียนรู้
6.5 คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว
ความรู้เพิ่มเติม
ความหมาย ประเภท ลักษณะของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
โดยสภาพทั่วไปในสังคมหากใครทำอะไร มีอะไร หรือปฏิบัติอะไรที่ไม่เหมือนกับสมาชิกคนอื่นๆ
ในสังคมเรามักจะเรียกบุคคลเหล่านี้ว่าเป็นคนที่มีความต้องการพิเศษ
ทั้งนี้เพราะสังคมยอมรับและมีบรรทัดฐาน (norm) ที่เป็นตัวกำหนด หรือคาดการณ์ไว้ว่าทุกคนจะต้องทำอย่างนั้น
อย่างนี้ และบรรทัดฐานนี้เองจึงเป็นมาตรฐานให้สมาชิกของสังคมทำตามปฏิบัติตาม
จนถือเป็นระเบียบแบบแผนแห่งพฤติกรรม หรือการกระทำของตน ดังที่เราคงจะเคยได้ยินได้ฟังเพื่อนๆ
เรียกเราในบางครั้งว่าเป็นคนที่มีความ ต้องการพิเศษ เพราะเราทำอะไรได้บางอย่างไม่เหมือนเพื่อนๆ
ในกลุ่ม |
เอาไว้หรือไม่ หากเกิดมาและมีการเบี่ยงเบนไปจากบรรทัดฐานที่กำหนดไว้ เราก็มักจะมีเรียกตามลักษณะที่ขาดหายหรือตามที่บกพร่องไป เช่น เด็กตาบอด เด็กปัญญาอ่อน เด็กแขนด้วน ขาด้วน เป็นต้น นั้นเป็นการเรียกกันตามสภาพ ที่เห็นว่าไม่เหมือนคนทั่วไป แต่ในทางวิชาการเรามักจะใช้การเรียกรวมๆ ว่า เด็กที่มีความต้องการพิเศษ ดังนั้นหากจะจำกัดความของคำว่า เด็กที่มีความต้อง การพิเศษ จะพบว่า มีความหมายที่กว้างมาก ซึ่งองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้พยายามที่จะจำกัดความหรือให้ความหมายคำว่าเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เพื่อให้เป็นแนวทางสำหรับการทำความเข้าใจว่า เด็กที่มีความต้องการ พิเศษจะต้องอยู่ในขอบเขต 3 ประการ คือ
- ความบกพร่อง (Impairmant) หมายถึง มีการสูญเสียหรือมีความผิดปกติ ของจิตใจและสรีระหรือโครงสร้างและหน้าที่ของร่างกาย
- ไร้สมรรถภาพ (Disability) หมายถึงการมีข้อจำกัดใดๆ หรือการขาด ความสามารถอันเป็นผลมาจากความบกพร่อง จนไม่สามารถกระทำกิจ กรรมในลักษณะหรือภายในขอบเขตที่ถือว่าปกติ สำหรับมนุษย์ได้
- ความเปรียบเทียบ(Handicap) หมายถึงการมีความจำกัดหรืออุปสรรคกัด กั้นอันเนื่องมาจากความบกพร่องและการไร้สมรรถภาพที่จำกัดหรือขัด ขวางจนทำให้บุคคลไม่สามารถบรรลุการกระทำตามบทบาทปกติของเขา ได้สำเร็จ
จากขอบเขตดังกล่าว คำว่า" เด็กที่มีความต้องการพิเศษ" จึงหมายถึงการมีข้อจำกัดใดๆ หรือการขาดความสามารถอันเป็นผลมา จากการให้การช่วยเหลือและการสอนตามปกติทั้งนี้มีสาเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกายสติปัญญา และอารมณ์ จำเป็นต้องได้รับการ กระตุ้น ช่วยเหลือ การบำบัด ฟื้นฟูและให้การเรียนการสอนที่เหมาะ กับลักษณะ และความต้องการของเด็ก
คำว่า เด็กที่มีความต้องการพิเศษมาจากคำภาษาอังกฤษว่า Children with special needs เป็น คำใหม่ และเพิ่งใช้กันอย่างแพร่หลาย ในระยะไม่กี่ปีที่ผ่านมา
นอกจากนี้แล้ว ยังมีการให้คำนิยามเกี่ยวกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ตามลักษณะของการจัดให้บริการ โดยแยกลักษณะการให้บริการได้ดังนี้ 1. ทางการแพทย์ มักจะเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษเหล่านี้ว่า เด็กพิการ ดังนั้นเด็กที่มีความต้องการพิเศษจึงหมายถึง ผู้ที่มีความผิดปกติ ผู้ที่มีความบกพร่อง หรือ ผู้ที่มีการสูญเสียสมรรถภาพอาจเป็นความผิดปกติ ความบกพร่องทางกายหรือการสูญเสียสมรรถภาพเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการดำ เนินชีวิตของเขาทำให้เขาไม่สามารถปฏิบัติภารกิจได้ดีเท่ากับคนปกติ แต่หากมีการ แก้ไขอวัยวะที่บกพร่องไปให้สามารถให้งานได้ดังเดิมแล้ว สภาพความบกพร่อง อาจหมดไป 2. ทางการศึกษา ให้ความหมายเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า หมายถึงเด็กที่มี ความต้องการทางการศึกษาเฉพาะของตัวเอง ซึ่งจำเป็นต้องจัดการคือศึกษาให้ ต่างไปจากเด็กปกติทางด้านเนื้อหา หลักสูตรกระบวนการที่ใช้และการประเมินผล
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
องค์กรอนามัยโลก(WHO) แบ่งเด็กที่มีความต้องการพิเศษออก ดังนี้ 1. แบ่งตามความบกพร่อง (Clssification of Impairment)
1.1 บกพร่องทางสติปัญญาหรือความทรงจำ (Intellegence or Memory Impairment) ปัญญาอ่อนเสียความทรงจำ ลืมเหตุการร์ที่ผ่านมาและปัจจุบัน2. ไร้ความสามารถ (Classification of Disabilities)
1.2 บกพร่องทางจิตอื่นๆ (Other Psychological Impairment) บกพร่องทางสติสัมปชัญญะหย่อนความสำนึก บพร่องทางความสนใจหรือการเข้าใจ นอนไม่หลับ
1.3 บกพร่องทางภาษาหรือการสื่อความหมาย (Language or Communication Impirment) พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด ไม่สามารถแสดงการติดต่อกับคนอื่นได้
1.4 บกพร่องทางการได้ยิน (Aural Impairment) หูตึง ได้ยินไม่ชัดเจนทั้งสองข้าง ได้ยินข้างหนึ่งและหนวกอีกข้างหนึ่ง
1.5 บกพร่องทางการมองเห็น (Ocular Impairment) เห็นไม่ชัดเจนทั้งสองข้าง บอดข้างหนึ่งเห็นเลือนลางข้างหนึ่ง
1.6 บกพร่องทางโครงกระดูก (Visceral Impairment) บกพร่องทางระบบหัวใจและการไหลเวียนของโลหิต บกพร่องทางระบบการย่อยอาหาร การขับถ่าย
1.7 บกพร่องทางโครงกระดูก (Skeletal Impairment) กระโหลกศรีษะ หัว ตัว แขน ขาไม่เป็นปกติ
1.8 บกพร่องทางแระสาทสัมผัส (Semsory Impairment) เสียความรู้สึกร้อน หนาว ความรู้ศึกลดน้อยกว่าปกติ สูญเสียความรู้สึกสัมผัส เจ็บ
1.9 อื่นๆ
2.1 ไร้ความสามารถทางอุปนิสัย (Behaviour Disabilities) ไม่สามารถบอกเวลา สถานที่ไม่สามารถปกป้องคุ้มครองตนเอง เสียความสัมพันธ์กับครอบครัว3. แบ่งตามการเสียเปรียบ (Classificatio of Handicap)
2.2 ไร้ความสามารถทางการสื่อความหมาย (Communication Disabilities) พูดได้แต่ไม่เข้าใจพูดไม่รู้เรื่อง พูดไม่ได้เขียนหนังสือไม่ได้ อ่านไม่ได้
2.3 ไร้ความสามารถทางการดูแลตนเอง (Personal Care Disabilities) ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวัน เช่น อาบน้ำ เข้าส้วม แต่งตัว กินอาหารได้เอง
2.4 ไร้ความสามารถทางการเคลื่อนไหว (Locomotor Disabilities) เช่น เดิน วิ่ง ขึ้นลงบันได ไม่ได้ตามปกติ
2.5 ไร้ความาสามารถทางความคล่องแคล่วของอวัยวะ (Decterity Disabilities)ไร้ความสามารถ ในการทำกิจวัตรประจำวัน ไม่สามารถใช้นิ้วมือกำของ ถือของ หรือไม่สามารบังคับการไช้เท้า บังคับร่างกาย
2.6 ไร้ความสามารถทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Disabilities)
2.7 ไร้ความสามารถในสถานการณ์ ( Situational Disabilities)
3.1 เสียเปรียบทางความสำนึก (Orientation Handicap) ไร้ความสำนึกต่อสิ่งแวดล้อมไม่สามารถเกี่ยวข้องกับผู้อื่น4. องค์การฟื้นฟูสมารถภาพคนพิการระหว่างประเทศได้กำหนดประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
3.2 เสียเปรียบทางกาย ไม่เป็นอิสระต้องพึ่งผู้อื่น (Physical independence Handicap) โดยแย่งตามความรุนแรงของความพิการ คือต้องพึ่งผู้อื่นทุกอย่าง
3.3 เสียเปรียบทางการเคลื่อนไหว (Mobility Handicap) แบ่งตามความรุนแรงของความพิการ
3.4 เสียเปรียบทางด้านกิจกรรม (Occupation Handicap) แบ่งตามความรุนแรงของความพิการได้แก่ พึ่งตนเองในการทำกิจกรรมได้น้อยมาก
3.5 เสียเปรียบทางด้านสังคม (Social Integration Handicap) ไม่สามารถเข้าสังคมทั่วไปได้ไม่สามารถร่วกิจกรรมกับเพื่อน
3.6 เสียเปรียบทางสภาพเศรษฐกิจ (Economic Self sufficiency Handicap) ได้แก่ ไม่มีรายได้ มีรายได้เล็กน้อยแต่ไม่พอเพียงกับการรักษาพยาบาล
4.1 ตาบอด มองเห็นเลือนลางหรือบางส่วน5. ทางการแพทย์มีการจัดประเภท เพื่อการบำบัด คือ
4.2 มีความบกพร่องทางการได้ยิน
4.3 ปัญญาอ่อน
4.4 พิการทางการเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการพิการทางสมองความพิการทางแขน ขา ลำตัว
4.5 มีความบกพร่องทางการพูด การใช้ภาษา
4.6 มีปัญหาทางการเรียนรู้เฉพาะด้าน
4.7 มีปัญหาความพิการซ้อน
4.8 เรียนหนังสือได้ช้า
4.9 ด้านตา
5.1 ความพิการทางแขน ขา ลำตัว6. พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 แบ่งประเภทของบุคคลที่มีความต้องการพิการเศษ เพื่อนการจดทะเบียนและการฟื้นฟูสมรรถภาพ
5.2 ความพิการทางหู
5.3 ความพิการทางสติปัญญา
5.4 ความพิการทางหู
5.5 ความพิการทางอารมณ์และจิตใจ
6.1 คนพิการทางการมองเห็น
6.2 คนพิการทางการได้ยินและสื่อความหมาย
6.3 คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม
6.4 คนพิการทางสติปัญญาหรือการเรียนรู้
6.5 คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น